การประเมินสภาวะอนามัยสิ่งแวดล้อมและปัจจัยส่วนบุคคลต่อความชุกของสัตว์และแมลงนำโรคในหอพักนักศึกษา

Main Article Content

ศิริอุมา เจาะจิตต์
พิมาน ธีระรัตนสุนทร
ขจีพรรณ บุญญานุวงศ์
ซอบารีย๊ะ เจ๊ะเลาะ

Abstract

Abstract


This study aimed to assess the environmental health condition in dormitories, and explore knowledge, attitude, and practice on environmental health in dormitory and study the prevalence of animal and insect carriers in dormitories. Participants were 263 people, which were 240 students and 23 maids by using purposive sampling. Data collecting by using questionnaires; assess the environmental health condition and animal and insect carriers sampling by the standards method of the Department of Health. The results of assessing the environmental health in dormitory found that the top three issue included the solid waste, animal and insect carriers and drinking water. The level of knowledge toward environmental health and animal and insect carriers control in dormitories of students and housewives was moderate level at 64.6 and 52.2 %, respectively. The level of attitude toward environmental health and animal and insect carriers control among students was good at 84.6 % and among housewife was moderate at 78.3 %. Moreover, it was found that the level of disease control practice among students and housewives were medium at 64.5 and 56.5 %, respectively. The results on animal and insect carriers indicated that rat and mosquito were the important contributors. In case of rat, it was found that prevalence over the standard by about 7.7 %. In addition, Container Index (CI) was at high risk rate by about 38.5 % of surveyed dormitories. 


Keywords: dormitory; animal and insect carrier; prevalence

Article Details

Section
Medical Sciences
Author Biographies

ศิริอุมา เจาะจิตต์

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

พิมาน ธีระรัตนสุนทร

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

ขจีพรรณ บุญญานุวงศ์

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

ซอบารีย๊ะ เจ๊ะเลาะ

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

References

[1] อำนาจ ชิดไธสง และบัณฑูร เศรษฐศิโรจน์, 2554, ชุดโครงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบต่อประเทศไทย และชุดโครงการวิจัยการพัฒนาความรู้และยุทธศาสตร์ความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม, สำนักงานสนับสนุนกองทุนการวิจัย, แหล่งที่มา : http://trf.or.th, 1 ธันวาคม 2558.
[2] ชำนาญ อภิวัฒนศร, 2555, Climate Change and Mosquito Vectors, แหล่งที่มา : http://www.tm.mahidol.ac.th, 23 พฤศจิกายน, 2558.
[3] กรมควบคุมโรค สำนักโรคติดต่อโดยแมลง, 2554, แผนยุทธศาสตร์โรคติดต่อนำโดยแมลงระดับชาติ ปี 2555-2559, แหล่งที่มา : http://www.thai vbd.org, 21 พฤศจิกายน 2558.
[4] สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย, 2554, คู่มือความรู้สู่ประชาชน อนามัยสิ่งแวดล้อมเตรียมพร้อมประชาชน, แหล่งที่มา : http://env.anamai.moph.go.th, 21 พฤศจิกายน 2558.
[5] ดวงใจ เนตระคเวสนะ, 2551, การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ภาคปกติ) ต่อการใช้บริการหอพักมหาวิทยาลัยและหอพักเอกชน, แหล่งที่มา : http://mba.bus.rmutt.ac.th/mba, 23 พฤศจิกายน 2558.
[6] พัฒนา มูลพฤกษ์, 2541, อนามัยสิ่งแวดล้อม, พิมพ์ครั้งที่ 2, หจก. เอ็น. เอส. แอล. พริ้นติ้ง, กรุงเทพฯ, 549 น.
[7] สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย, 2558, การควบคุมพาหะนำโรค แมลงวัน, แหล่งที่มา : http://env.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/env/ewt_dl_link.php?nid=939, 16 กรกฎาคม 2561.
[8] สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย, 2558, การควบคุมพาหะนำโรค แมลงสาบ, แหล่งที่มา : http://env.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/env/ewt_dl_link.php?nid=938, 16 กรกฎาคม 2561.
[9] สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย, 2558, การควบคุมพาหะนำโรค หนู, แหล่งที่มา : http://env.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/env/ewt_dl_link.php?nid=940, 16 กรกฎาคม 2561.
[10] สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค, 2556, ชีววิทยาและการควบคุมยุงลายสวน, แหล่งที่มา : http://www.thaivbd.org/n/uplo ads/file/file_PDF/คู่มือปฏิบัติงาน/ALL/Aede salbopictus.pdf, 16 กรกฎาคม 2561.
[11] วราลักษณ์ ตังคณะกุล, 2556, การควบคุมเลปโตสไปโรสิสไว้, ว.วิชาการสาธารณสุข 22(3): 526-537.
[12] สุวัชรีย์ เดชาธรอมร, 2544, ความรู้และทัศนคติของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
[13] กนกวรรณ ขันเงิน และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน, 2558, แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชน ตำบลโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ, ว.วิชาการเฉลิมกาญจนา 2(3): 128-133.
[14] ประพัฒน์ เป็นตามวา, ทักษิน จงประสม, นิสสา ชื่นชม และเบญจวรรณ พรมผล, 2555, การประเมินสภาวะอนามัยสิ่งแวดล้อมในหอพักนักศึกษามหาวิทยาลัย, ว.วิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5(1): 35-44.
[15] รุ่งฤทัย บุญเทศ และวรางคณา สังสิทธิสวัสดิ์, 2557, การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของหอพักนักศึกษา, ว.วิจัย มข. 19(6): 916-926.
[16] พีรนาฏ คิดดี และอานุช แก้ววงศ์, 2550, ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการจัดการมูลฝอยของประชาชนในอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง, รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา, 82 น.
[17] มณเฑียร รัตนตรัง, 2550, อิทธิพลของระยะห่างจากแหล่งอาหารและพฤติกรรมการป้องกันและการกำจัดหนูของครัวเรือนต่อจำนวนหนูที่ดักได้ในครัวเรือนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา, 104 น.
[18] จรวย สุวรรณบำรุง, จันทร์จุรีย์ ถือทอง และธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร, 2558, การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในกิจกรรมเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : ต้นแบบการเฝ้าระวังเชิงรุกในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของพื้นที่สถานศึกษา, ว.การพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(1): 81-93.