การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • นุจนาฎ สาริบุตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

คำสำคัญ:

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน, การบริหารงานวิชาการ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์วิจัยเพื่อศึกษาระดับและความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหาร     ส่วนจังหวัดอุบลราชธานี โดยผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นมาจากการทบทวนวรรณกรรม จำนวน 40 ข้อ มาใช้ในการเก็บข้อมูลจากครูกลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 คน หากแต่มีผลการทดสอบความตรงเชิงวัตถุประสงค์ของแบบสอบถามมีค่า IOC มากกว่า .80 และมีค่าความเชื่อมั่น .98 ผู้วิจัยจึงได้นำไปใช้รวบรวมข้อมูลกลับมาวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ซึ่งปรากฏผลวิจัยพบว่า ระดับปฏิบัติการด้านการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทั้งตัวแปรหลักและองค์ประกอบ ประกอบด้วย การกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม การบริหารตนเอง ภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน และการพัฒนาทั้งระบบ ส่วนการบริหารงานวิชาการมีค่าเฉลี่ยระดับปฏิบัติการอยู่ในระดับมากทั้งตัวแปรหลักและองค์ประกอบเช่นเดียวกัน โดยมีองค์ประกอบ  การบริหารงานวิชาการประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ การประกันคุณภาพ การวัดและประเมินผล การพัฒนาหลักสูตร และสื่อการเรียนการสอน นอกจากนี้ ยังพบว่าการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารงานวิชาการมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกระดับมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .76 เพราะฉะนั้นผู้บริหารและครูโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ควรนำผลวิจัยนี้ไปใช้เป็นแนวทางสำหรับการกำหนดนโยบาย และจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กระทรวงศึกษาธิการ (2546). โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน. กรุงเทพฯ :สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

กระทรวงศึกษาธิการ (2550). กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ (เอกสารอัดสำเนา).

กมล ภู่ประเสริฐ. (2551). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : ทิปส์พับบลิเคชั่น.

กาญจนา วัธนสุนทร. (2551). การจัดการศึกษาท้องถิ่นแบบบูรณาการ เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม.

การสร้างธรรมาภิบาล (ออนไลน์) 17 มกราคม 2556 (อ้างเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2556). จาก http://www.aircadetwing.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5378062&Ntype=4

กรมวิชาการ. (2542). การประกันคุณภาพของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น , ม.ป.ป.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟิก จำกัด.

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. (2550). การถ่ายโอนสถานศึกษาให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เอกสารอัดสำเนา). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

จินตนา ภาคาบุตร์. (2558). การศึกษาสภาพและความคาดหวังการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของนักเรียนตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนเอกชนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุทยา เขต 2 . วารสารวิจัยราชภัฎกรุงเก่า.

เฉลิมพล มีชัย. (2554). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

ชัชฎาภรณ์ อร่ามรุณ และคณะ. (2556). กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 และเขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2547). การบริหารงานวิชาการ. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.

ดาราวรรณ สุขคันธรักษ์. (2556). ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่แระชาคมอาเซียน. “วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์” มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ถวิล มาตรเลี่ยม. (2542). การบริหารจัดการโดยโรงเรียนเป็นฐาน ปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.

ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธา.

ธวัช กรุดมณี. (2550). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลองค์การของโรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธวัชชัย รัตตัญญู. (2551). การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.

ธีระ รุญเจริญ. (2552). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง จำกัด

ธีระพร อายุวัฒน์. (2552). แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก. “วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์” มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นริศ แก้วสีนวล และคณะ. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐ, วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นุชจรี บุญเกต. (2557). กรณีการเรียนแบบผสมผสานระดับอุดมศึกษา, วารสารไอซีทีเพื่อการศึกษา.

เนตร์พัณนา ยาวิราช. (2550). การจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 6 ). กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

บุญมี ยอดเณร. (2546). รายงานผลการดำเนินงานโครงการนำร่องระดับชาติ เรื่อง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน : วิถีและวิถีไทย. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

ประดิษฐ์ โกมุทธิยานนท์.(2553). แนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของศูนย์เครือข่ายตำบลบ่อสุพรรณ. “วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประยูร อัครบวร ไพรฑูรย์ สินลารัตน์ และกมลทิพย์ ศรีหาเกษ. (2553). ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านบริหารการศึกษา (Self-Learning Toolkit) การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม (Networking Building and Participatory). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 24(1), 145-163

ปรัชญนันท์ นิลสุข และนวพรรษ เพชรมณี. (2553). สื่อเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้, วารสารวิทยบริการ.

ปรีชา จันทรมี. (2556). ตัวบ่งชี้ความสำเร็จในการบริหารงานวิชาการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ.“วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์” มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2546). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. (2553). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : บริษัท พิมพ์ดี จำกัด.

ผดุงเกียรติ เชาวนกระแสสินธุ์, อิศรา รักษ์กุล และอำนาจ รัตนวิลัย. (2554). ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบคัดกรองโรคเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญฉบับภาษาไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 4(1), 136-145.

พนมพร พุกกะพันธ์. (2544). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จามจุรีโปรดัคท์.

เพชริน สงค์ประเสริฐ. (2551). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยยึดหลักการทำงานเป็นทีมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พสุ เดชะรินทร์ และชัยวัฒน์ หฤทัยพันธ์. (2553). การวางแผนและการกำหนดยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัชนี วิเศษสังข์. (2540). ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ เอกสารประกอบการสอนกระบวนวิชาพฤติกรรมการบริหาร. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นามมีบุ๊คส์พับลิชั่น.

รุจิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม. (2545). การบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊กพอยท์.

รุ่ง แก้วแดง. (2543). ปฏิบัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิฆเนศ.

ลี้วัชร์ ดาวงศ์ และคณะ. (2558). การพัฒนาองค์ประกอบการบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสารคาม.

วิทยากร เชียงกูล. (2543). อธิบายศัพท์การบริหารจัดการสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.

วิภา ทองหงำ. (2554). รูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร, “วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์” มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยขั้นพื้นฐานทางสังคมศาสตร์, เอกสารประกอบการบรรยาย มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น.

วุฒิวัฒน์ อินทสุวรรณ. (2547). ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ในการบริหารงานวิชาการของสถานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศักดิ์จิต มาศจิตย์. (2550). การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสำหรับสถานศึกษาในขั้นพื้นฐานในเขตตรวจราชการที่ 11. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2548). การวิเคราะห์งานวิจัยทางการบริหารการศึกษา. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร (ถ่ายสำเนา).

ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

สมาน อัศวภูมิ.(2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่ : แนวคิด ทฤษฎี และการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. อุบลราชธานี : หจก.อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542). แกนหลักแนวคิดการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และหลักเกณฑ์การประเมินโรงเรียนปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์การศาสนา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ. : พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). ปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ. : บุญศิริการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาตามกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). แนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ. : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). แนวปฏิบัติงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษานิติบุคคลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สจีวรรณ ทรรพวสุ. (2555). การพัฒนากระบวนการบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการจัดการคุณภาพผลการออกแบบกระบวนการบริหารงานวิชาการ. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สุนทรี ศรีโกไสย และศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา. (2555). คุณลักษณะทางจิตของวัดความสอดคล้องกลมกลืนของชีวิตตามแนวคิดซาเทียร์ฉบับภาษาไทย, วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(1), 75-78

สุภาวิตา ทองชิง. (2548). ประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2544). การกระจายอำนาจทางการศึกษา กองการมัธยมศึกษา รวมบทความเชิงวิชาการเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา . การกระจายอำนาจทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

สนั่น เถาชารี. (2551). “การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้ระบบ ERP : กรณีศึกษา” หนังสือรวบรวมบทความการประชุมวิชาการประจำปี ด้านการจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ.

สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.

สมยศ นาวีการ. (2544). การบริหารเชิงกลยุทธ์และนโยบายทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ. (2545). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์กรุงธนพัฒนา จำกัด.

เสาร์ วงศ์กระจ่าง.(2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับความสำเร็จในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. “วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

แสงรุนีย์ มีพร.(2552). การวิจัยและพัฒนาคู่มือการจัดการความรู้เพื่อการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา. “วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์” มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อ่องจิต เมธยะประภาส. (2550). การพัฒนาตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานด้วยวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. “วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2545). รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2545 : ปมปฏิรูป. กรุงเทพฯ : เอส.ดี. เพรส.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2546). หลักการสอน.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โอ เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

อารีย์ เอมโอด. (2548). การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1 และ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3.

อำรุง จันทวานิช. (2547). แนวทางการบริหารและการพัฒนาสถานศึกษาสู่โรงเรียนคุณภาพ. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

อุดม หอมคำ. (2557). การพัฒนาความสามารถด้านไอซีทีของครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดสุรินทร์ที่มีความสามารถด้านไอซีทีต่ำ.วารสารไอซีทีเพื่อการศึกษา.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2545). การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_______________. (2543). การศึกษาแนวทางการบริหารและจัดการศึกษา ในรูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

อุไรพรรณ เจนวานิชยานนท์ และ สุวรรณี มงคลรุ่งเรือง. (2545). การประกันคุณภาพการศึกษา. วารสารวิชาการ.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี. (2555). แผนพัฒนาสามปี พ.ศ.2556-2558. อุบลราชธานี : หจก.อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.

Adewale, O.S. (2014) Instructional improvement of secondary school terchers thorough effective academic supervision by the vice-principals, Journal of Education and Human Development, 3(2), 607-617

Anthony, S., and Melissa. (2012). The Ideal Qualities and Tasks of Library Leaders : Academic, Public, School, and Special Libraly Administrators, MLIS.

Benford, R., and Gess-Newsome, J. (2006) Factors affecting student academic success in gateway course at Nothern Arizona University, Online Submission.

Bennis, Warren G. (1959). "Leadership Theory and Administrative Behavior," The Problem of Authority Administrative Science Quarterly.

Caldwell, B.J.(2005). Education Decentralization Revisited School-Based Management. The third International Forum on Educational Reform, Bangkok, 2005

Charles and Harrigan. (2006). School-Based Management : A Study of its impacton student achievement in the Title I schools. California : Fielding Graduate University.

Cotton, K. (2001). School-Based Management. Portland, OR : Northwest Regional Education Laboratory.

Darbavasu, S., and Siritongthaworr,S. (2012). Development of academic administration process of the basic education schools, based on the quality management process.

Derek W. (2003). “The Development of Comprehensive School-Based Management Model for Basic Education Institutions” PAPER PRESENTATION ABSTRACT. The third International Forum on Education Reform : School-Based Management. Office of the Education Council, Bangkok, (8-11 September 2003)

Edley, Jr C. A World Class School for every child: The Challenge of Reform in Pennsylvania. Boston: Harvard University Law School, 1992.

Fry, H., and Stephanic, S. (2009). A Handbook for teaching and Learning in Higher Education : Enhancing Academic Practice, 3rd ed New York : Taylor & Francis.

Hersey, Paul and Kenneth H. Blanchard. (1988). Management of Organizational Behavior. Utilizing Human Resources. 5 th ed. London: Prentice Hall International.

Hoy, Wayne K. and Cecil Miskel. (1991). Educational : Theory Research and Practice.New York: Megrew Hild.

Hoy, W.K. and Miskel.C.G. (2005). Educational Administration : Theory, Research, and Practice. 7Thed. New York : McGraw-Hill.

Joseph, S. (2014) Organisational problems in academic administration a case study of Mahatma Gaudhi University.

Leithwood, Kenneth and Teresa Menzies. (1998). “Forms and Effects of School-Based Management : A Review,” Educational Policy.

Likert, Rensis. (1967). The Human Organization. New York: McGraw-Hill.

Loretta. (2005) School-Based Management. Washington, D.C. : Office of Research, Office of Education Research and Improvement the U.S. Department of Education.

Sim, R.C., and Koszalka,T.A. (2008). Competencies of the new-age instructional designer, Handbook of Research on Education Communication and Technology.

Taylor,S.,Janik, E., & Logan, A. (2008). Curriculum coherence and student success, Champlain Saint-Lambert Cegep.

Thongnoi, N., Srisa-ard, B., & Sri-ampri, A. (2013). Development of effective academic affairs administration system in Thai primary schools, International Education studies.

Vehachart, R. (2010). A model of development for academic administration decentralization of lab school in the lower Southern area, Procedia-Social and Behavioral Sciences.

Wohlstetter, Priscilla and Susan Albers Mahrman. School-Based Management : Strategies for Success. (online) 1993 (cited 2001 April 10). Available from : http://www.ed.gov/pubs/CRRE/fb2sbm.html

Wohlstetter, Priscilla. “Getting School-based Management Right: What Works and What Doesn’t,”Phi Delta Kappan. 77, 1 (September 1995): 22-25.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-24