การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐ์พัชร์ ลาภบำรุงวงศ์ สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

การประยุกต์, ทฤษฎีแรงจูงใจ, ในการปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

           การจูงใจเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจให้กระทำถึงการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจให้เป็นแนวทางในการทำงาน ทฤษฎีแรงจูงใจที่ใช้ในการทำงานเป็นกลุ่มทฤษฎีเนื้อหาเพียงอย่างเดียว ประกอบด้วย 1) ทฤษฎี Abraham Maslow 2) ทฤษฎี Two-Factor 3) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y 4) ทฤษฎี ERG
          จากทฤษฎีแรงจูงใจข้างต้นจึงมีการประยุกต์แรงจูงใจเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม

References

กมลพร กัลยาณมิตร. (2559). แรงจูงใจ 2 ปัจจัย พลังสู่ความสำเร็จ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 6(3), 175-183.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991).

จุฑามาศ ศรีบำรุงเกียรติ. (2555). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความคาดหวังในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทท่อส่งปิโตรเลียมจำกัด (แทปไลน์). การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ชูเกียรติ ยิ้มพวง. (2554). แรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา บริษัท บางกอกกล๊าส จำกัด โรงงานจังหวัดปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

โชติกา ระโส. (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์.

พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวง ตำบลบางกะจะ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ยุภา ตรงพิทักษ์กุล. (2550). แรงจูงใจที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มบริษัทซังกิวไทย จำกัด. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วรรณา อาวรณ์. (2556). แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการรัฐสภา ระดับปฏิบัติงาน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก.

สุธานิธิ์ นุกูลอึ้งอารี. (2555). การศึกษาความพึงพอใจในงาน ของพนักงาน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กรณี พนักงานบริษัทการบินไทยฯ สำนักงานใหญ่. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

เสนาะ ติเยาว์. (2553). แรงจูงใจกับความสำเร็จในงาน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.swk.ac.th/stech/pictureslupload1/LANG52.pdf. (2553, 21 มิถุนายน).

Clayton, P. A. (1972). Existence, Relatedness & Growth: Human Needs in Organizational Setting. New York: The Free Press.

Frederick, W. Tr. (1911). The Principles of Scientific Management. New York: Harper and Brothers.

Herzberg, F., Bernard, M. & Snyderman, B. (1959). The Motivation to Work. New York: John Willey & Sons.

Loudon, D. L., & Bitta, D. A. J. (1988). Consummer Behavior: Concept and Applications. (3rd ed). New York: McGraw-Hill.

Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, p.370-396.

McGregor, D. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill.

Walter, K. (1978) . The Working Class in Welfare Capitalism. London: Routledge & Kegan Paul.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-31