การศึกษาแนวทางการออกแบบโมชั่นกราฟิกที่ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้

Main Article Content

ทักษิณา สุขพัทธี
ทรงศรี สรณสถาพร

Abstract

            การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการออกแบบโมชั่นกราฟิกที่ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ ผู้เชี่ยวชาญ นักออกแบบและนักศึกษาได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์และการสังเกต แบบสัมภาษณ์ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่มและการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของสื่อโมชั่นกราฟิกที่ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ประกอบด้วย ขั้นการวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ ขั้นการพัฒนาและการทดลอง ขั้นการประเมิน และนไปใช้ ซึ่งแต่ละข้อมีเนื้อหารายละเอียดต่างๆ ดังที่จะกล่าวในบทความนี้

 

               The objective of this study was to study components of graphic motion media which enhanced learning ability. The samples in the study consisted of three groups: experts, designers, and students. –They were selected by the purposive sampling technique. Data collection tools comprised interview and observation. Data were grouped and analyzed by content analysis. The findings revealed as follows. The components of motion graphic media which enhanced learning ability included: Analysis Design Development and Implementation , Evaluate and for work

 

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biographies

ทักษิณา สุขพัทธี

อาจารย์ประจำสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,

ทรงศรี สรณสถาพร

รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

References

ภัทราภร สืบจากอินทร์, (2554). การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการสร้างคำในภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทพินทร์พิทยา อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรการสอน มหาวิทยาลัยศิลปกร

ธัญญกนก สุจริตรัฐ, วลัยภรณ์ นาคพันธุ์, และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ์, (2557). วิจัยเรื่องพฤติกรรมการสื่อสารของคนไทยที่ไม่เหมาะสมในสังคมออนไลน์ (กรณีศึกษา Youtube.com). การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2557 (National Research Conference 2014) มหาวิทยาลัยรังสิต. กรุงเทพฯ.

ธีรศานต์ ไหลหลั่ง, (2549) การออกแบบและประเมินชุดสื่อมัลติมีเดียวิชาการถ่ายภาพทางการศึกษาตามโมเดลการออกแบบของกานเยและบริกส์. สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ.

นฤมล ถิ่นวิรัตน์, (2555). อิทธิพลของอินโฟกราฟิกต่อการสื่อสารข้อมูลเชิงซ้อน กรณีศึกษาโครงการรู้สู้ฟลัด. สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พงษ์พัฒน์ สายทอง, (2558). ชื่องาน การพัฒนาโมชันอินโฟกราฟิก เรื่องกระบวนการวิจัยสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภาสวัฒน์ เนตรสุวรรณ, จิรพันธุ์ ศรีสมพันธ์, (2558). การพัฒนาสื่อโมชั่นกราฟิกเรื่องพื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกสำหรับหลักสูตรฝึกอบรมของบริษัทสแควร์ครีเอทีฟจำกัด, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15, 2558).

หัสนัย ริยาพันธ์, (2554). สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน และการฝึกอบรมทางไกล. เอกสารอิเล็คทรอนิคส์. [online] http://www.stou.ac.th/offices/ Oce/publication/pr3/pr%20117561.pdf. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2557

อนุชา เธียรศิริพิพัฒน์, (2552). สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ การออกแบบโมชั่นกราฟิกเพื่อการประชาสัมพันธ์. สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

John Krasner. (2012). Motion graphic Design Applied History and Aesthetics. Third edition. New York and London : Focal press.

Steven J. McGriff (2000).Instructional System Design (ISD): Using the ADDIE Model. Instructional Systems, College of Education, Penn State University.