ความคิดเห็นของนักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ 3 ที่เรียนรู้วิชาพฤติกรรมองค์การแบบนำตนเองตามหลักอิทธิบาทสี่

Main Article Content

พิชศาล พันธุ์วัฒนา

Abstract

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษา (1) สภาพทั่วไปของความคิดเห็นนักเรียนนายร้อยตำรวจที่มีต่อฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา และ (2) ผลที่เกิดจากการเรียนรู้แบบนำตนเองตามหลักอิทธิบาทสี่ของนักเรียนนายร้อยตำรวจ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัย 2 แนวทางทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากนักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ 3 ที่เรียนรู้วิชาพฤติกรรมองค์ การแบบนำตนเองจำนวน 37 ราย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึกรวมทั้งใช้การสังเกตแบบมีโครงสร้างต่อพฤติกรรมของนักเรียนนายร้อยตำรวจ ผลการศึกษาพบว่านักเรียนนายร้อยตำรวจสามารถเรียนรู้แบบนำตนเองตามหลักฉันทะอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี เรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักวิริยะ จิตตะ และวิมังสาระดับปานกลาง ทั้งพบว่านักเรียนนายร้อยตำรวจส่วนใหญ่เข้าใจความหมายหลักอิทธิบาทสี่ทั้งสี่ด้านเป็นอย่างดี

 

 

The objective of this research study (1) Generality of opinion of Police Cadet influenced the four principles of success (2) The effects of the self-directed learning under the influence of the four principles of success. This study was conducted by applying 2 research methodologies, both quantitative & qualitative. Quantitative approach, questionnaire were used to collect data from 37 of Police cadet. The data was analyzed, using descriptive statistics to analysis. To the qualitative approach, in-depth interview was conducted with Police cadet and used to observed behavior during police cadet grade 3 to self-directed learning by researche. The overall result of Police cadet had a good understand to means the four principles of success

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biography

พิชศาล พันธุ์วัฒนา

อาจารย์ประจำคณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

References

พระพรหมคุณาภรณ์. (2557). พจนานุกรมพุทธศาสน์หมวดธรรม, 9 พฤศจิกายน 2559. จาก http ://www.chulabook.com/des cript tion.asp?barcode=9786160301812

โรงเรียนนายร้อยตำรวจ. (2549). หลักสูตรนักเรียนนายร้อยตำรวจ, 11 พฤจิกายน 2559. จาก http:/ /pcis.rpc a.ac.th/course-2549.pdf

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ: สามลดา.

สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และกรรณิการ์ สุขเกษม. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ: การวิจัยปัญหาปัจจุบัน และการวิจัยอนาคตกาล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สามลดา.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2556). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552 - 2559: กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

Bandura, A. (1977). Self – efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change. Psychological review, 84(2): 191-215. Retrieved January 9, 2017, from https:// www.uky.edu/~eushe2/Bandura/Bandura1977PR.pdf.Access

Boyer, S.L., Edmondson, D.R., & Artis, A.B. (2013). The Moderating Effect of the Self-Directed Learning Measurement Tool: A User’s Guide. International Journal of Self-Directed Learning 10(2), 21-37.

Cazan, A.N. (2013). Self-directed Learning, Personality Traits and Academic Achievement. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 127: 640-644. Retrieved January 11, 2017, from http://www.sciencedirect.com/science /article e/ pii/S187704281424 185

Cresswell, J.W. (2013). Research design: qualitative, quantitative and mixed methods approaches. 4thed. Retrieved January 12, 2017, from https://www.amazon.co m/Research-Design-International-Student-Quantita ti ve/dp/1452274614

Douglass, C., and Morris, S.R. (2014). Student perspectives on self-directed learning. Journal of the Scholarship of Teaching and Learning 14(1), 13-25.

Guglielmino, L.M. (2013). The Case for Promoting Self-Directed Learning in Formal Educational Institutions. SA-eDUC JOURNAL 10(2), 1-18.

Kranzow, J., and Hyland, N. (2016). Self-Directed Learning: Developing Readiness in Graduate Students. International Journal of Self-Directed Learning 13(2), 1-14.

Ponti, M. (2014). Self-directed learning and guidance in non-formal open courses. Journal of learning, media and technology 39(2), 154-168.

Ponton, M.K., and Carr, P.B. (2016). The Possible Role of Higher Education in Developing Learner Autonomy: A Quantitative Exploration. International Journal of Self-Directed Learning 13(1), 13-25.

Strods, G. (2014). Promotion of Student Self-Direction Through Cooperative Learning in Teacher Training. International Journal of Self-Directed Learning 11(2), 13-28.