ความพร้อมและความต้องการในการพัฒนาทักษะของเกษตรกรในการปรับตัวสู่นโยบายประเทศไทย 4.0

Main Article Content

อนุพงศ์ อวิรุทธา
ศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์
รังสีจันทร์ สุวรรณสทิศกร
มณฑล ทองพนัง
จำปี เพชรชุม
วรกัญญา สิริพิเดช
ชลธิดา รักยุทธ์
วิรัตน์ ใจสา

Abstract

เพื่อนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรให้มีความเข้มแข็ง ปรับตัวได้สามารถแข่งขันได้ภายใต้สภาพการแข่งขันที่รุนแรง การบูรณาการเทคโนโยลีสารสนเทศกกับเทคโลยีดิจิทัลมีส่วนช่วยส่งเสริมการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรม เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรทั้งห่วงโซ่ เพื่อขับเคลื่อนการผลิตสินค้าเกษตรให้มีศักยภาพ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความพร้อมของเกษตรกรในการเข้าสู่ประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาความต้องการของเกษตรกรในการพัฒนาทักษะเพื่อการเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 และ 3) เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการสร้างแนวทางการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทําธุรกรรมทางดิจิทัลของประเทศต่อไป และเพื่อทราบถึงทักษะที่จำเป็นต่อการปรับตัวของผู้ประกอบการในการเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 การศึกษาในครั้งนี้เก็บข้อมูลจากเกษตรกรใน 5 จังหวัด จำนวน 160  คน ด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เกษตรกรจำนวน 30 คน พบว่า ความพร้อมในการปรับตัวเข้าสู่การเป็นเกษตรกรยุคดิจิทัล (Smart Farmer) อยู่ในระดับมาก ยกเว้นในด้านความพร้อมด้านข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่อยู่ในระดับปานกลาง และเกษตรกรต้องการให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องช่วยเหลือในความคิดเชิงระบบ ความคิดเชิงออกแบบ และ ความรู้และความเข้าใจในด้านสารสนเทศ

In order to improve the agricultural industry, be able to compete under strong competitive environment, the integration of digital technology is a crucial for new invention and innovation. Therefore, the objectives of the study are 1) to study the level of the readiness of the Thai farmers for Thailand 4.0 policy; 2) to study the neediness of the skill training of the Thai farmers for Thailand 4.0; and 3) to provide the information for those departments or organizations are involving the Thailand 4.0 policy to manage their supports. The samples of this study consists 160 sampling, conducting by survey, additionally with in-depth interview for 30 sampling. The results show that the overall readiness of the Thai farmers is a high level. Except, the readiness of the information for decision making, which is at the neutral level. The Thai farmers mostly need the skills, regarding the system thinking skill, design thinking skill, and information literacy skill.

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biographies

อนุพงศ์ อวิรุทธา

หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา  คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

รังสีจันทร์ สุวรรณสทิศกร

หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

มณฑล ทองพนัง

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

จำปี เพชรชุม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

วรกัญญา สิริพิเดช

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ชลธิดา รักยุทธ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

วิรัตน์ ใจสา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

References

กรรณี ลํ้าลักษณ์เลิศ. (2549). ปัจจัยหลักที่มีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและซัพพลายเออร์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา (2560). Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2560 ที่ http://www.libarts.up.ac.th/v2/img/Thailand-4.0.pdf

ตวง อันทะไชย (2559). ทิศทางการศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2560 ที่ https://www.cpw.ac.th/CPW_Document/knowledge-147201721320160824134013.pdf

ถวิล อรัญเวศ (2560). ไทยแลนด์ 4.0 คืออะไร สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2560 ที่ https://thawin09.blogspot.com/2017/05/thailand-40.html

ภูมิศักดิ์ ราศรี (2559). การเตรียมความพร้อมภาคเกษตร Smart Farmer กับการเข้าสู่ “ไทยแลนด์ 4.0”. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2560 ที่ http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=23177&filename=index

รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต (2552). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วรพัชร์ ชุมวรฐายี และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). อิทธิพลของคุณลักษณะงานที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการผ่านการมุ่งเน้นลูกค้าเป็นสำคัญของเจ้าหน้าที่บริการลูกค้า บมจ.ธนาคารกรุงไทย ในเขตจังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 8 (2), 1001-1018.

ศรายุทธ ตรัยศิลานันท์ (2554). “ความสัมพันธ์ห่วงโซ่อุปทานระหว่างผู้จัดหาวัตถุดิบกับผู้ซื้อในอุตสาหกรรม อาหารจังหวัดนครราชสีมา.” วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2560). การขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ พัฒนาเกษตรไทยสู่ 4.0. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2560 ที่ https://www.kehakaset.com/newsactivities_details.php?view_item=253

Avirutha, A. (2017). The Effectiveness of the Digital Business transformations of the Thai Small and Medium Enterprises. E-Veridia, Srilapakorn Journal.

Boonnoon, J. (2014). “Govt Unveils Themes for Digital Economy Plan.” Retrieved September 29, 2015, from http://www.nationmultimedia.com/business/Govt-unveils-themes-for-digital-economy-plan-30247713.html

Giunipero, L., Handfield, R.B. and Eltantawy, R. (2006). "Supply management's evolution: key skill sets for the supply manager of the future". International Journal of Operations & Production Management, 26: 822-844.

Gordon, K. T. (2007). "The Power of Social Shopping Networks.” Retrieved September 29, 2014, from http://www.entrepreneur.com/marketing/onlinemarketing/article174746.html.

Humphreys, P. K., Li, W.L. and Chan, L.Y. (2004). “The Impact of Supplier Development on Buyer-Supplier Performance.” Omega-the International Journal of Management Science 32(2): 131 – 143.

Van, A. B., Van, W. D., and Overmeer, W. (2014). "Unlocking the ICT growth potential in Europe: Enabling people and businesses Using Scenarios to Build a New Narrative for the Role of ICT in Growth in Europe", a study prepared for the European Commission (DG CNECT) by The Conference Board.

Zimmermann, F. and Foerstl, K. (2014). “A Meta-Analysis of the “Purchasing and Supply Management Practice– Performance Link.” Journal of Supply Chain Management. 50(3): 37-54.