ศึกษาความต้องการพัฒนาความรู้และความชำนาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของคณะกรรมการชุมชนเขตสายไหม จังหวัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ณัฐพล ธนเชวงสกุล
ปัญจ์ปพัชรภร บุญพร้อม

บทคัดย่อ

This research aimed to 1) study needs to develop knowledge and skills in information technology among committee of Saimai Community, Bangkok Metropolitan, 2) study behaviors on using information technology among committee of Saimai Community, Bangkok Metropolitan, 3) compare needs to develop knowledge in information technology according to educational level, occupation, and holding positions in the committee of Saimai Community, and 4) compare skills in information technology according to educational level, occupation, and holding positions in the committee of Saimai Community. The sample of this research are 113 committees of Saimai Community, Bangkok Metropolitan and the tool used in this research was the questionnaire. Statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation (S.D.) and the hypothesis was tested by F-test. The research could be concluded as follows:
1) Overall, needs to develop knowledge and skills in information technology among committee of Saimai Community, Bangkok Metropolitan was at the high level (mean = 4.18 and 3.62, respectively). Besides, the overall of behaviors on using information technology among committee of Saimai Community, Bangkok Metropolitan was at the high level (mean = 4.40)
2) Educational level, occupation, and holding positions in the committee of Saimai Community had effects on needs to develop knowledge and skills in information technology but had no effects on skills in information technology with a statistically significant difference at 0.05.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เสน่ห์ แตงทอง. (2542). ภาพอนาคตทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในทศวรรษหน้า:

กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านคลองตัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ. (2556). ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (ASEAN 2015). สืบค้นจาก:

http://panida183733.blogspot.com/2013/07/2558-asean-2015.html

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ฟาฏินา วงศ์เลขา. (2555). การศึกษาตลอดชีวิต พัฒนาคนไทยอย่างยั่งยืน. สืบค้นจาก:

http://www.dailynews.co.th//Content/education/90907

ภาสกร เรืองวานิช. (2554). การวิเคราะห์จัดลำดับความต้องการการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในสำนักงาน เพื่อนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นจาก: http://www.ru.ac.th/km-

research/kmdata/2554_1395398522_2554_1379906778_passsakorn.pdf

มานนท์ แก้วเพ็ง. (2554). พฤติกรรมการใช้งานต่อประสิทธิภาพของระบบอินทราเน็ต THAI sphere: บริษัทการบินไทยจำกัดมหาชน.ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ธัญบุรี.

สุขขุม พรมเมืองคุณ. (2546). ความต้องการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้นำท้องถิ่นใน

จังหวัดขอนแก่น. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สุจิรา มณีจันทร์. (2545). การนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานของสำนักงานที่ดินศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงาน

ที่ดินกรุงเทพมหานคร สาขาพระโขนง. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนุทิน จิตตะสิริ. (2541). ประสิทธิพลของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบงานบริหาร

เอกสาร: ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อุบลรัตน์ จันทร์เมือง. (2555). การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรวิทยาลัยการอาชีพวังสะพุง. วารสาร

ประชาสัมพันธ์. วิทยาลัยการอาชีพวังสะพุง.