พฤติกรรมการรับสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรปลูกพริกขี้หนู กรณีศึกษา : ในเขตหมู่บ้านกลุ่มชัยนาท ตำบลภูน้ำหยด อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์

Main Article Content

วัชราภรณ์ วงศ์สกุลกาญจน์
ศิริลักษณ์ งิ้วใหญ่
ประภัสสร ผมงาม
ศิริอักษร ดีลาภ

บทคัดย่อ

               การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพฤติกรรมการรับสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรปลูกพริกขี้หนู ในเขตหมู่บ้านกลุ่มชัยนาท ตำบลภูน้ำหยด อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานและชุดทดสอบระดับโคลีนเอสเตอเรส (Reactive paper) เลือกกลุ่มตัวอย่างจากเกณฑ์คัดเข้ากลุ่มตัวอย่าง  จำนวน 41 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกรปลูกพริกขี้หนู ร้อยละ 51.20 อยู่ในระดับเสี่ยง รองลงมา ร้อยละ 43.90 อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย และร้อยละ 4.90 อยู่ในระดับปลอดภัย ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในครั้งนี้คือ ควรมีการเฝ้าระวัง การประเมิน ตรวจติดตามระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกรปลูกพริกขี้หนู และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีประชาสัมพันธ์ให้ความรู้  แก่เกษตรกรปลูกพริกขี้หนูในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง

 

                The objectives of research were to study behaviors exposure to chemical pesticides for chilli farmers case study : Chinat village, Phunamyot sub district, Wichianburi district, Phetchabun province. The tool used in the study include interview form, behavioral observation forms and reactive paper. 41 0f chili farmers were collected to study form Inclusion criteria. Data were analyzed by descriptive statistics. The results showed that 51.20 percent of the chemicals level in blood of farmers were risk, 43.90 percent were unsafe and 4.90 percent were safe. The recommendation for this research is surveillance, assessment and monitoring of pesticide exposure in chili farmers. The relevant authorities should provide information to educate chilli farmers on the use of protective equipment from chemical pesticides properly.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

วัชราภรณ์ วงศ์สกุลกาญจน์

ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี

ศิริลักษณ์ งิ้วใหญ่

ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี

ประภัสสร ผมงาม

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  สาขาวิทยาศาสตร์ความปลอดภัย  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี  

ศิริอักษร ดีลาภ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  สาขาวิทยาศาสตร์ความปลอดภัย  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี  

References

กิจชัย ศิริวัฒน์. (2555). ความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นพาตอนที่ 4 สารเคมีกำจัดแมลง. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2558. http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=396.

กิตติพันธุ์ ย่งฮะ. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกรพื้นที่อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

กรมวิชาการเกษตร. (2555). ผลการตรวจสารเคมีตกค้างในผัก. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2558. http://www.thaipan.org/node/353.

จิราวดี สุแดงน้อย และเพียรศักดิ์ ภักดี. (2554). การจัดการการผลิตและการตลาดพริกสดของเกษตรกร ตำบล

แหลมทอง อำเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ, วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11 (4), 173-182.

นิพัฒน์ สุขวิบูลย์, สุทธินี เจริยคิด, สันติ โยธาราษฎ์, กิ่งกาญจน์ เกียรติอนันต์, ศิวพร แสงภัทเนตร, พันธุ์ศักดืแก่นหอม, ประนอม ใจอ้าย. (2556). เทคโนโลยีการผลิตพริก คุณภาพในเขตภาคเหนือตอนบน. เชียงใหม่: ดาราวรรณการพิมพ์.

มีชัย พลจางวาง, พัชราวลี สายบัว, กาญจนา วงษ์สวัสดิ์. (2554). การใช้สารปราบศัตรูพืชของเกษตรกรกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์แตงโมตำบลไร่ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558. http://cph.snru.ac.th/UserFiles/File.pdf

สิริภัณฑ์กัญญา เรืองไชย, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2554). ผลกระทบจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบในตำบลลำห้วยหลัว อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6, 18 (1), 48-60.

เสริมศักดิ์ บำเพ็ญผล. (2550). การศึกษาความรู้และการปฏิบัติของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการผลิตกระเทียม อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แสงโฉม ศิริพานิช. (2556). สถานการณ์และผลต่อสุขภาพจากการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช. ปี พ.ศ. 2556. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์, 44, (44), 689- 704.