การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตวัสดุปลูกจากกากชานอ้อยและกากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสีย

Main Article Content

สุปราณี อบเทียน
สิรินารี เงินเจริญ
ประทีป อูปแก้ว

บทคัดย่อ

               งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาวัสดุปลูกจากชานอ้อยของการผลิตน้ำตาล (sugarcane bagasse; SB) กากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสียจากการผลิตกระดาษคราฟท์ (biosludge from kraft paper; BK)  และกากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสียจากการผลิตไฟฟ้า (biosludge from power plant; BP) โดยวิเคราะห์จากคุณสมบัติของวัสดุปลูกและเปรียบเทียบผลการเจริญเติบโตของต้นพริกขี้หนู (Capsicum frutescens Linn.) ซึ่งนำมาปลูกในวัสดุปลูกที่ประกอบด้วย SB:BK:BP 6 อัตราส่วน ได้แก่ 50:50:00 50:40:10 50:30:20 50:20:30 50:10:40 และ 50:00:50 โดยปริมาตร เป็นเวลา 2 เดือน
ผลการศึกษาพบว่าวัสดุปลูกจาก SB:BK:BP ในอัตราส่วนเท่ากับ 50:10:40 มีความเหมาะสมที่สุดสำหรับพัฒนาเป็นวัสดุปลูก กล่าวคือ วัสดุปลูกดังกล่าวมีสีเทา มีความหนาแน่นและความพรุนเท่ากับ 0.02±0.01 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และ 30.76±1.74% ตามลำดับ ช่องว่างขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับช่องว่างขนาดเล็ก pH เท่ากับ 7.51 หรือเป็นด่างเล็กน้อย ตรวจพบอินทรียวัตถุ 1.6-2.54% หรืออยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้วัสดุปลูกจาก SB:BK:BP ในอัตราส่วนเท่ากับ 50:10:40 ยังให้ผลการเจริญเติบโตของต้นพริกขี้หนูสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุปลูกอัตราส่วนอื่นด้วย จากผลวิเคราะห์ซึ่งพบว่าอัตราการอยู่รอดของพริกขี้หนูที่ปลูกในวัสดุปลูกดังกล่าวมีค่าเท่ากับ 100%  ความสูง น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งของต้นพริกขี้หนูเท่ากับ 15.07±3.23 เซนติเมตร 0.40±0.05 กรัม และ 0.06 ± 0.01 กรัมตามลำดับ (P<0.05)

 

                The objectives of this research were to study the feasibility of growing material that developed from bagasse of sugar production (sugarcane bagasse; SB), wastewater sludge of kraft paper production (biosludge from kraft paper; BK) and wastewater sludge of electricity production (biosludge from power plant; BP). Samples were analyzed by properties of mentioned material including the growth of bird chili (Capsicum frutescens Linn.) which were planted in growing material that composed of SB:BK:BP, varied 6 proportions as 50:50:00, 50:40:10, 50:30:20, 50:20:30, 50:10:40 and 50:00:50 by volume for 2 months. The results were showed that growing materials consisted of SB:BK:BP as 50:10:40  was the most favorable to develop for the cultivation. It was found that the mentioned growing material was gray. The density equaled to 0.02±0.01 g/cm3 conversely, the porosity was equaled 30.76±1.74%. The volume of high pore has resembled small pore space, pH of growing material as 7.51 or slightly base and the medium organic matter which were found as 1.6-2.54%. Furthermore, survival rate, height, and weight of bird chilies planted in every growing media proportion were measured. Also found that all of the values from SB:BK:BP which equals 50:10:40 was the highest yield as its survival rate value of bird chili equaled to 100% and the height was equals 15.07±3.23 cms. Referred to that proportion, the fresh weight and dry weight of bird chili growth equaled to 0.40±0.05 g and 0.06±0.01 g, respectively (P<0.05). 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

สุปราณี อบเทียน

คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

สิรินารี เงินเจริญ

คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

ประทีป อูปแก้ว

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

References

กรมพัฒนาที่ดิน. (2553). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการวิเคราะห์ตรวจสอบดินทางเคมี. กรุงเทพมหานคร: กรมพัฒนาที่ดิน.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (ม.ป.ป.). โครงการจัดทำฐานข้อมูลเอกลักษณ์ของกากอุตสาหกรรม (Waste Fingerprint), 11 เมษายน 2560. http://eis.diw.go.th/wasteFP/aboutUs.aspx

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2554). คู่มือ 3Rs กับการจัดการของเสียภายในโรงงาน. กรุงเทพมหานคร: สํานัก

บริหารจัดการกากอตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม.

กรมส่งเสริมการเกษตร. (ม.ป.ป.). ทางเลือกอาชีพด้านพืช, 12 เมษายน 2560. http://esc.agritech.doae. go.th/ebooks/download-pdf/Plant%20career%20choice.pdf

ฐิติพร เต็มสังข์. (2554). ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าพริกและมะเขือเทศ. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี คณะเกษตร กำแพงแสน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ชิดชนก โชติกปฏิพัทธ์. (2557). การใช้แหนแดงเป็นวัสดุเพาะเมล็ดและวัสดุปลูกดาวเรือง (รายงานผลการวิจัย). นครปฐม: ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ไทยเคนเปเปอร์. (2555). ภาพรวมของบริษัท: Overview, 11 เมษายน 2560. http://www.thaicane.com /test/index.php?option=com_content&task=view&id=162&Itemid=&lang=thai

ทนงศักดิ์ ปะระไทย. (ม.ป.ป.) ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารพืชกับดิน, 12 เมษายน 2560. http://r07.ldd. go.th/Web/15_KM/S2.pdf

ไทยเกษตรศาสตร์. (2556). โรคของพริก, 12 เมษายน 2560. http://www.thaikasetsart.com..E0%B8%81/

ธารทิพย์ สุธรรม. (2553). ผลของวัสดุปลูกจากเปลือกมะพร้าวขนาดต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตและออกดอกของ แพงพวย. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี คณะเกษตร กำแพงแสน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน.

บีแอลซีพี เพาเวอร์. (2560). บีแอลซีพี เพาเวอร์: เกี่ยวกับเรา, 11 เมษายน 2560. http://www2.blcp.co.th/ th/aboutus/

บุญแสน เตียวนุกูลธรรม. (2548). ปฐพีวิทยา, 9 เมษายน 2560. http://elearning.nsru.ac.th

ประภาพรรณ กระจ่างลิขิต. (2557). การศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกและระดับความเข้มข้นของธาตุไนโตรเจน

และโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตของแพงพวยเลื้อย. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี คณะเกษตร กำแพงแสน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ปิยะนุช ม่วงทอง. (2557). อิทธิพลของวัสดุปอซโซลาน ประเภทวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลของอิฐดินซีเมนต์, 11 เมษายน 2560. http://repository.rmutr.ac.th/ bitstream/handle/ 123456789/64/Fulltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y

มุกดา สุขสวัสดิ์. (2547). วัสดุปลูกไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์บ้านและสวน.

ศัสยมน นิเทศพัตรพงศ์ อำไพ ประเสริฐสุข และนันทนา โพธิ์สุข. (2557). ปฏิสัมพันธ์ของธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรี, 12 เมษายน 2560. http://www.doa.go.th/research/attachment.php?aid=2422

เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล. (2551). ร้อยพรรณพฤกษา รอบรู้เรื่องเครื่องปลูก. กรุงเทพมหานคร: เศรษฐศิลป์.

สวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ. (2555). ผลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกาบหอยแครง (Dinoaeamuscipula), 12 เมษายน 2560. http://www.agr.rmutt.ac.th/wp-content/uploads /2014/05/thesis/55/dionaeamuscipula.pdf

สํานักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย. (2557). รายงานพื้นที่ปลูกอ้อย ปีการผลิต 2556/57. กรุงเทพมหานคร: กลุ่มสารสนเทศอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย.

สำนักสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน. (ม.ป.ป.). ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน, 10 เมษายน 2560. http://oss 101.ldd.go.th

อรรถ สมร่าง ยุทธชัย อนุรักติพันธุ์ พงศ์ธร เพียรพิทักษ์ และบุศรินทร์ แสวงลาภ. (2548). ดินเพื่อประชาชน. กรุงเทพมหานคร: กรมพัฒนาที่ดิน.

อิทธิสุนทร นันทกิจ. (2552). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน, 12 เมษายน 2560. http://www.bloggang.com/ mainblog.php?id=supat&month=22-02-2009&group=1&gblog=4

Bilba, K. and Arsène, M. (2008). Silane treatment of bagasse fibre for reinforcement of cementitious composites. Composites part a: Applied science and manufacturing,

(9), 1488-1495.

Cornell University. (2008). Soil organic matter, April 9th, 2017. http://franklin.cce.cornell.edu/ resources/soil-organic-matter-fact-sheet

Dang, L.C., Fatahi, B. and Khabbaz, H. (2016). Behaviour of expansive soils stabilized with hydrated lime and bagasse fibres. Procedia engineering, 143(2016), 658-665.

Food and Agriculture Organization of the United Nations. (2013). Good agricultural practices for greenhouse vegetable crops: Principles for mediterranean climate areas, Apirl 10th, 2017. https://www.researchgate.net/publication/255700709_Growing_Media

Oladele, I.O. (2014). Effect of bagasse fibre reinforcement on the mechanical properties of polyester composites. The journal of the association of professional engineers of trinidad and tobago, 42(1), 525-549.

Handreck, K. and Black, N. (2005). Growing media for ornamental plants and turf. Australia: University of New South Wales Press.

Huang, G. and Wang, P. (2017). Effects of preparation conditions on properties of rigid polyurethane foam composites based on liquefied bagasse and jute fibre.

. Polymer testing, In Press, Accepted manuscript (Available online April 6th, 2017).

Lam, N.T., Chollakup, R., Smitthipong, W., Nimchua, T. and Sukyai, P. (2017). Utilizing cellulose from sugarcane bagasse mixed with poly (vinyl alcohol) for tissue engineering scaffold fabrication. Industrial crops and products, 100(2017), 183-197.

Milerue, N., Chunwongse, J., Struss, S. and Wasee, S. (2016). Variation of small erect-fruited chili in Thailand. Agriculture and natural resources, 50(2016), 43-47.

Mulyantara, L.T., Harsono, H., Maryana, R., Jin, G., Das, A.K. and Ohi, H. (2017). Properties of thermomechanical pulps derived from sugarcane bagasse and oil palm empty fruit bunches. Industrial crops and products, 98 (2017), 139-145.

Nathakaranakule, S., Rakwichian, W. Dandamrongrak, R., and Thepa, S. (2006). Equilibrium moisture content of thai red chillies. International journal of renewable energy, 1(2), 23-29.

State university of new york college of environmental science and forestry. (2017). Soil pH: What it means, Apirl 11, 2017. http://www.esf.edu/pubprog/brochure/soilph/.htm

Tian, H. and Zhang, Y.X. (2016). The influence of bagasse fibre and fly ash on the long-term properties of green cementitious composites. Construction and building materials, 111 (2016), 237-250.

Kazmi, S.M.S., Abbas, S., Saleem, M.A., Munir, M.J. and Khitab, A. (2016). Manufacturing of sustainable clay bricks: Utilization of waste sugarcane bagasse and rice husk ashes. Construction and building materials, 120(1 sep 2016), 29-41.

Petroudy, S.R.D., Garmaroody, E.R. and Rudi, H. (2017). Oriented cellulose nanopaper (OCNP) based on bagasse cellulose nanofibrils. Carbohydrate polymer, 157(2017), 1883-1891.

Wirawan , R., Sapuan , S.M., Yunus, R. and Abdan , K. (2011). Properties of sugarcane

bagasse/poly(vinyl chloride) composites after various treatments. Journal of

composite materials, 45(16), 1667-1674.

Werner, L.P. (2010). Tree nutrition and fertilization: Practical considerations, Apirl 9th, 2017. http://www.isa-arbor.com/myAccount/myEducation/resources/CEU-June10.pdf

Xu, Y., Wu, Q., Lei, Y. and Yao, F. (2010). Creep behaviour of bagasse fibre reinforced

polymer composites. Bioresource technology, 101(9), 3280-3286.

Yadav, S., Gupta, G., Bhatnagar, R. (2015). A review on composition and properties of bagasse fibers. International Journal of scientific and engineering research, 6(5), 143-148.