การเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยร่วมกับเอนไซม์ไฟเตสในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่

Main Article Content

ศรีน้อย ชุ่มคำ
อรพินท์ จินตสถาพร

บทคัดย่อ

การเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยร่วมกับเอนไซม์ไฟเตสในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ ทำการวิจัยเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรวมในหลอดทดลอง  ผลการเสริมเอนไซม์ในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่  โดยใช้แม่ไก่ไข่พันธุ์ลูกผสมทางการค้าอายุ 52 สัปดาห์  จำนวน  96 ตัว แบ่งไก่ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว   โดยมี กลุ่มทดลองดังนี้      กลุ่มที่ 1   อาหารปกติ  กลุ่มที่ 2  อาหารปกติเสริมเอนไซม์ไซลาเนส 1600 IU  เอนไซม์เซลลูเลส 10 IU และ เอนไซม์ไฟเตส 100  FTU ต่ออาหาร 1 กก.    กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเอนไซม์ไซลาเนส 3200 IU   เอนไซม์เซลลูเลส 20 IU และ เอนไซม์ไฟเตส 200  FTU ต่ออาหาร 1 กก.    ผลการย่อยได้ของโภชนะพบว่าการเสริมเอนไซม์ไม่ช่วยปรับปรุงการย่อยได้ของเยื่อใยและฟอสฟอรัส  แต่ปร(P>0.05) แต่ทำให้การย่อยได้ของกรดอะมิโนเพิ่มขึ้น การเสริมเอนไซม์ในอาหารไม่มีผลต่อ อัตราการไข่ น้ำหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน  ปริมาณอาหารที่กินต่อการผลิตไข่ 12 ฟอง  ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตรารอด  ค่าฮอคยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ต้นทุนค่าอาหารต่อการผลิตไข่ 1กก. เท่ากับ 26.67  26.16  และ26.66 บาท/กก. และต้นทุนค่าอาหารต่อการผลิตไข่ 1 ฟอง เท่ากับ 1.54  1.50  และ 1.54 บาท/ฟองตามลำดับ(P>0.05)

 

 

Effect of  fibrolytic enzyme  and phytase cocktail in layer diet on production performance and egg quality  was studied. This study aimed to investigate the efficiency  of cocktail enzyme  on the in vitro digestibility and the effect of enzyme supplementation in layer diet on production performance and egg quality. Ninty six  commercial  layers of 52 week old were randomly divided into 3 treatment groups. Each treatment had 4 replication and 8 hens in each replication.  The treatments were    T1) control without any enzyme supplementation, T2) diet supplemented with combination of 1600 IU xylanase, 10 IU cellulose and 100 FTU phytase   and  T3)  diet supplemented with combination of 3200 IU xylanase, 20 IU cellulose and 200 FTU phytase.  The results have shown that    cocktail enzyme supplementation did not improved  in vitro fiber and phosphorous digestibility. But amino acid digestibility was better(P<0.05). There were no significant difference in egg production  , egg weight, feed intake, feed consumption per dozen egg, feed efficiency ratio, survival rate, haugh unit, egg yolk color,  egg shell thickness and egg specific gravity throughout  the period of experiment (P>0.05).   Feed cost per one kilogram egg and feed cost per egg  were  26.67  26.16,  26.66 baht/kg and 1.54  1.50, 1.54 baht/egg respectively.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ศรีน้อย ชุ่มคำ

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ จังหวัดปทุมธานี

อรพินท์ จินตสถาพร

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

References

เกศรา คำพาภรณ์ เฉลิมพล เยื้องกลาง ไกรสิทธิ วสุเพ็ญ เสมอใจ บุรีนอก และ ทันสมัย วรพิมพ์. (2555). ผลของเอนไซม์ย่อยเยื่อใยต่อสมรรถภาพการผลิตและการย่อยได้ของไก่เนื้อ. แก่นเกษตร 40: (ฉบับพิเศษ 2) 236-238.

ไกรสิทธิ วสุเพ็ญ เฉลิมพล เยื้องกลาง เสมอใจ บุรีนอก และ เบญญา แสนมหายักษ์. (2557). ผลของกากมะเขือเทศและเอนไซม์ไฟโบร์ไลติกในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและการย่อยได้ของเยื่อใย. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 1):210-214.

บุญล้อม ชีวอิสระกุล สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์ รุ่งนภา ลิ้มเจริญพร และ สุรภี ทองหลอม. (2540) การเสริมเอนไซม์ไฟเตสในอาหารไก่เนื้อ 1. อาหารที่มีกากเรปซีด กากมะเมล็ดทานตะวันหรือโปรตีนและฟอสฟอรัสระดับต่ำวรสารเกษตร 13:76-87.

นิสารัตน์ เหย้าภักดิ์ดี ยุวเรศ เรืองพานิชย์ และ เสกสม อาจตมางกูร. (2556). ผลการเสริมเอนไซม์สองรูปแบบต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่เนื้อที่ได้รับอาหารที่มีกากเนื้อในเมล็ดปาล์มที่ระดับต่างๆ. วรสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 44: 1(พิเศษ) 135-138.

Bedford,M.R. (2000). Exogenous enzymes in monogastic nutrition –their current value and future benefit. Anim. Feed Sci and Tech. 86:1-13.

Biely, P., Vrsanska, M. & Kucar, S. (1992). Identification and mode of action of endo-(1->4)-β-xylanases. Progress in Biotechnology. 7: 81 - 95.

Bisswanger, H. (2004). Practical Enzymology. Wiley-VCH Verlag GmbH & Co. KGaA, Weinheim.

Chung, T.K. (2002). How to get the best out of phytase. Feed Mix 10: 27-29.

Esonu, B.O., R.O. Izukanne & O.A. Inyang. (2005). Evaluation of cellulolytic enzyme supplementation on production indices and nutrition uterlyzation of layer hens fed soybean hull based diets. International J.Journal of Poultry Science. 4:213-216.

Forster, I., Higgs, D.A., Dosanjh, B.S., M. Rowshandeli & J. Parr. (1999). Potential for dietaryphytase to improve the nutritive value of canola protein concentrate and decrease phosphorus output in rainbow trout (Oncorhynchus mykiss) held in 11 °C freshwater. Aquaculture 179, 109–125.

Mathlouthi, N., M.A. Mohamed & M. Larbier. (2003). Effect of enzyme preparation containing xylanase and β-glucanase on performance of laying hens wheat/barley-or maize/soybean meal-base diets. British Journal of Poultry Science. 44:60-66

Munir, M & S. Maqsood. (2013). A review on role of exogenous enzyme supplementation in poultry production. Journal of Food Agriculture. 25:66-80.

Narasimha, J., D. Nagalakshmi y. Ramana Reddy & S.T. Viroji Rao. (2013). Two-stage in vitro digestibility assay, a tool formulating non-starch polysaccharide degrading enzyme combination for commonly used feed ingredients of poultry ration. Veternarial World. 525-529.

Singh, M. & A. D. Krikorian. (1982). Inhibition of trypsin activity in vitro by phytase. Journal of Agriculture Food Chemistry. 30: 799– 800.

Spinelli, J. C., R. Houle & J. C. Wekell. (1983). The effect of phytates on the growth of rainbowtrout (Salmo gairdner) fed purifies diets containing varying quantities of calcium and magnesium. Aquaculture 30: 71-83.

Sumiati, R. Mutia & A. Darmansyah. (2012). Performance of layer hen fed fermented Jatropha Curcas L. meal supplemented with cellulose phytase emzyme. Journal of Indonesian Tropical Animal Agriculture. 37:108-114.