การออกแบบและสร้างสื่อแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่ออนุรักษ์และถ่ายทอดประเพณีมอญในจังหวัดปทุมธานี ศรีสุภัค เสมอวงษ์ * ธนกฤต โพธิ์ขี

Main Article Content

ศรีสุภัค เสมอวงษ์
ธนกฤต โพธิ์ขี

บทคัดย่อ

The study – Design and Creating the 2D Animation for a Conservation and Cultural Inheritance of MON Culture in Phatumthani Province is the creating by using design procedure to pass the knowledge about MON culture. The purposes of the study were: 1) to design and create 2D animation for a conservation and cultural inheritance of MON culture in Phatumthani province; 2) to examine the satisfaction of multimedia technology and animation specialist on the design and create 2D animation for a conservation and cultural inheritance of MON culture in Phatumthani province; and 3) to examine the satisfaction of teachers to 2D animation for        a conservation and cultural inheritance of MON culture in Phatumthani province.

          A population was selected from 22 primary school teachers who are teaching a social studies subject in Rong Rean Dee Sri Tumbol Plan that responsible to Pathumthani Primary Educational Service Area Office 1, Sam Khok, Pathumthani. The survey was using census method.

          The results of the study were as follows: 1) the examine of satisfaction of the specialist on the 2D animation for a conservation and cultural inheritance of MON culture in Phatumthani province is at the maximum level equals 4.71; and 2) the examine of satisfaction of teachers on the 2D animation for a conservation and cultural inheritance of MON culture in Phatumthani province is at high level equals 4.12. All the results of the satisfaction are following the assumptions of the study

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกเนตร แสนสุพรรณ. (2552). การ์ตูนแอนิเมชัน เรื่องการอนุรักษ์ป่า สำหรับเด็ก 8-9 ปี. วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จวน เครือวิชฌยาจารย์. (2548). ประเพณีมอญที่สำคัญ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

(องค์การมหาชน).

จตุพร สายแวว. (2552). การะพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติเพื่อรณรงค์การออกกำลังการสำหรับเด็ก. การศึกษาค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทักษิณา กล่อมเกลี้ยง. (2553). การพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บด้วยการ์ตูนแอนิเมชั่นภาษามือ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้บกพร่องทางการได้ยิน. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

บ้านจอมยุทธ. (2557). ประวัติศาสตร์มอญ. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.baanjomyut.com/library/2552/mon_history.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 12 มกราคม 2557).

พจน์ศิรินทร์ ลิมปะนันทน์. (2553). การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง เพศศึกษาสําหรับวัยรุ่นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต. การศึกษาค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุริยา จันทร์ส่อง. (2553). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชันประกอบนิทานเพื่อพัฒนาคุณธรรมสําหรับเด็ก. การศึกษาค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.