Detection of Coliform Bacteria and Escherichia coli in Beal juice, Butterfly Pea Juice and Asiatic Pennywort Water Nearby Burapha University, Chonburi Province การตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียและ Escherichia coli ในน้ำมะตูม น้ำดอกอัญชัน และน้ำใบบัวบก บริเวณใกล้กับมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

สุดสายชล หอมทอง
ณัฐวดี คงคะคิด

Abstract

Detection of coliform bacteria and Escherichia coli in beal juice, butterfly pea juice and asiatic pennywort water colleted from the fresh market nearby Burapha University, Chonburi province, was conducted from April to May, 2017. A total of 24 samples (8 Beal juice, 8 Butterfly pea juice and 8 Asiatic pennywort water) were analyzed by the Most probable number (MPN) method. The results showed that 13 samples (54.17%, 2 butterfly pea juice, 3 bael juice and 8 asiatic pennywort water) were higher than the standard recommended by thai community product. Notable, E. coli count in 9 samples (37.50%, 1 bael juice, 8 asiatic pennywort water) were higher than the standard. The results demonstrate that maximum contamination of coliform bacteria and E. coli in asiatic pennywort water suggest that the risk of food illness from asiatic pennywort water is high. There is a need to enforce good practices to avoid contamination of pathogen in sample.


 

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

เจตภาส ไชยะกุล. (2551). น้ำผักผลไม้-น้ำสมุนไพร มีจุลินทรีย์ปนเปื้อน. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2560, จาก: https://goo.gl/CkEoiB.
ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม และเนตรนภา เจียระแม. (2555). สถานการณ์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ในน้ำดื่ม เครื่องดื่ม และภาชนะที่ให้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล จังหวัดมหาสารคาม. วารสารสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(3), 87-96.
เทพวิทูรย์ ทองศรี สุรัตน์ เพชรเกษม และกัญญา ม่วงแก้ว. (2557). การประเมินปริมาณแบคทีเรีย โคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มในแหล่งนํ้าผิวดิน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. Bulletin of Applied Sciences, 3(3), 59-67.
ธนิดา ไมตรีประดับศรี มลวดี ศรีหะทัย จันทร์ทิพย์ อนันตกูล และศรัณพร กิจไชยา. (2558). ความปลอดภัยของเครื่องดื่ม OTOP ประเภทน้ำผลไม้และน้ำสมุนไพรในเขตสุขภาพที่ 6. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2560, จาก: https://goo.gl/EKLy7c.
บุษกร อุตรภิชาติ. (2555). จุลชีววิทยาอาหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 5). พัทลุง: ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
วีรานุช หลาง. (2555). คู่มือตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาทางอาหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2551). โครงการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในเครื่องดื่มสมุนไพร ณ สถานที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2551. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2560, จาก: http://elib.fda.moph.go.th/fulltext2/ word/16309/1.pdf.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2552). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำใบบัวบก มผช.163/2552. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฏาคม 2561, จาก: http://tcps.tisi.go.th/pub/tcps163_52.pdf.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำมะตูม มผช. 123/2554. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2560, จาก: file:///C:/Users/PC/Downloads%E0%B8% A1%E0%B8%(1).pdf.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำดอกอัญชัน มผช.533/2554. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2560, จาก: file:///C:/Users/PC/Downloads %E0%B8%A1%E0%B8%(1).pdf.
สุดสายชล หอมทอง ธนัชพร แดงศรี และณัฐธยาน์ ภาสอนเจริญชัย. (2560). การศึกษาการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทั้งหมด และ Staphylococcus aureus ในสลัดโรล เมี่ยงก๋วยเตี๋ยว และก๋วยเตี๋ยวลุยสวน บริเวณใกล้กับมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 36(2), 70-79.
สุธีรา ศรีสุข และภารดี พละไชย. (2559). คุณภาพทางจุลินทรีย์ของน้ำบริโภคจากตู้น้ำดื่มกดหยอดเหรียญอัตโนมัติในเขตเทศบาลนครยะลา. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 8(2), 277-288.
อภิชัย มงคล. (2559). ผลตรวจน้ำส้มคั้นปนเปื้อนจุลินทรีย์เพียบ เลือกซื้ออย่างไรให้ปลอดภัย. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2560, จาก: https://www.matichon.co.th/news/172200.
Brackett, R.E. and Splittstoesser, D.F. (2001). Fruits and Vegetables. In Downes, F.P. and Ito, K. (Eds.). Compendium of methods for the microbiological examination of foods. (4th ed)., pp. 515-520. Washington DC: American Public Health Association.
Feng, P., Stephen, D. and Michael, A. (2002). Enumeration of Escherichia coli and the coliform bacteria. Retrieved 20 December 2013, from: https://www.fda.gov/
food/foodscienceresearchlaboratorymethods/ucm064948.htm.
Froder, H., Martins, C.G., Souza, K.L.O., Landgraf, M., Franco, B.D.G.M. and Destro, M.T. (2007). Minimally processed vegetable salads: microbial quality evaluation. Food Protection, 70(5), 1277-1280.
Jackson, G.J., Madden, J.M., Hill, W.E. and Kloritz, K.C. (2009). Investigation of food implicated in illness. bacteriological analytical manual. Retrieved 20 December 2013, from: http://www.cfsan.fda.gov/~ebam/bam-25html.
Kornacki, J.L. and Johnson, J.L. (2001). Enterobacteriaceae, coliform, and Escherichia coli as quality and safety indicators. In Downes, F.P. and Ito, K. (Eds.). Compendium of methods for the microbiological examination of Foods, pp. 69-82. Washington DC: American Public Health Association.
Olaoye, O.A. and Onolude, A.A. (2009). Assessment of microbiological quality of sachet-packaged drinking water in Westem Nigeria and its public health significance. Journal of Public Health, 123(11), 729-734.
Tambekar, D.H., Jaiswal, V.J., Dhanorkar, D.V., Gulhane, P.B. and Dudhane, M.N. (2009). Microbial quality and safety of street vended fruit juice : A case study
of Amravati city. Internet Journal of Food Safety, 10, 72-76.