ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชนภายใต้การบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนบน

Main Article Content

พุฑฒิพงษ์ ฤาชัย
ณรงค์ศักดิ์ จันทร์นวล

Abstract

This research was aimed to study 3 objectives; (1) quality of life of the in communities under the administration of Local Governments in Upper Northern Region, (2) activities under the  administration of Local Governments, and (3) factors  influencing the quality of life of the communities under the administration of Local Governments in Upper Northern Region.


The samples consisted of 936 respondents derived from deputies and personals of sub-district municipalities offices, sub-district municipality representatives, and Local residents from sub-district municipalities in 8 provinces of Upper Northern Region. The instrument was a questionnaire. The results  show as follows; 1) the overall quality of life of the communities was in good level,  2) the overall practices of the activities under the administration of sub-district municipality offices were in high level, 3)  the Stepwise Multiple  Regression Analysis  indicated that 5 activities under the administration of sub-district municipality offices influencing  quality of life of the communities significant at .01 level, there were promoting activities, Education Promoting and Small Children development, Health care activities, Promotion of  Religious, Cultural and Tradition activities, and enhancing Unity activities. They had the predictive power of 59.70 percent. The best predictor of Quality of Life of the communities was the enhancing Unity activities. However, the infra-structure development activities could not predict the Quality of Life of the communities.

Article Details

How to Cite
ฤาชัย พ., & จันทร์นวล ณ. (2018). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชนภายใต้การบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนบน. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 25(2), 115–134. https://doi.org/10.14456/pyuj.2015.16
Section
Research Articles

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2551). มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.

กระทรวงมหาดไทย. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2557). ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2557. http://www.dla.go.th/work/apt/apt.jsp

ขวัญกมล ดอนขวา. (2555). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุนารี.

เขมิกา นุ่มพุ่ม. (2553). การศึกษาดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลนครอุดรธานี. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

คำนวณ เลาไพบูรณ์กิจเจริญ. (2555). ประสิทธิผลในการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลหมอนนาง. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

นฤนันท์ สุริยมณี, พราม อินพรม, พิชญา ลบล้ำเลิศ, วิวัลย์ดา สิริชีวานันท์และรัตนาภรณ์ ปานยิ้ม. (2555). การศึกษากระบวนการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบให้มีสมรรถนะสูงในการบริหารจัดการเครือข่ายระดับท้องถิ่น. รายงานการวิจัย คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.

นุทิศ เอี่ยมใส. (2555). ทุนทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีกับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนในจังหวัดเพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

ปาริชา มารี เคน. (2551). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนาคู อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2 (2), 69-84.

ไพจิตร ประดิษฐ์ผล และมนสิชา เพชรานนท์. (2553). คุณภาพชีวิตในชุมชนท่องเที่ยวโฮมสเตย์ กรณีศึกษา โฮมสเตย์บ้านปราสาท อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น9 (1), 90-109.

มานพ หวังสวัสดิ์โอฬาร และวรเดช จันทรศร. (2556). การสำรวจคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ 3 (1), 1-16.

ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล. (2554). คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในชีวิตของคนไทยในวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเกษมบัณฑิต12 (1), 1-11.

วาทิตต์ เรียมริมมะดัน. (2556). ความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา. โครงงานวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, เฉลิมพล แจ่มจันทร์, กาญจนา ตั้งชลทิพย์และจรัมพร โห้ลำยอง. (2556). คุณภาพชีวิต การทำงาน และความสุข. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิริพร อรัญมิตร. (2554). การศึกษาการดำเนินงานตามมาตรฐานการส่งเสริมศาสนาศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่นของเทศบาลตำบลห้วยยาง อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น. การศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2554). คุณภาพชีวิตของคนไทย: นัยจากดัชนีการพัฒนามนุษย์. วารสาร นักบริหาร 31 (3), 46-57.

สกล พรหมสิน. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาพัฒนาสังคม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุนิษา สาลีพวง. (2556). รูปแบบการประเมินการบริหารจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 31,2 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม). 201-224.

สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. (2552). รายงานการพัฒนาคนของประเทศไทยปี 2552 ความมั่นคงของมนุษย์ในปัจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2553). ดัชนีความผาสุขของเกษตรกร ปี 2553. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.

สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) และเครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.). (2554). การศึกษาผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.).

สำนักวิจัย. (2553). รายงานวิจัยคุณภาพชีวิตของคนไทยปี 2553. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.

อภิรดี โรจนประดิษฐ์. (2552). ความพึงพอใจของประชาชนในการจัดทำบริการสาธารณะของเทศบาลตำบลแม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่. รัฐประศาสนศาสตรมหหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัจฉรา นวจินดา. (2549). ทฤษฎีคุณภาพชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2556. http://www.thaipopulation.org/Stable/index.php?option=com_docman&task=doc_download&gid=114&Itemid=

อารีย์ เชื้อเมืองพาน, อารี วิบูลย์พงศ์, เยาวเรศ เชาวนพูนผลและทรงศักดิ์ ศรีบุญจิตต์.(2556). ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเกษตรกรที่เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ในเขตภาคเหนือตอนบน. CMU JOURNAL OF ECONOMICS16 (2), 29-46.

อำนวย ตาเม่น. (2550). การให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Ferrans, C., and Powers M. (1992). Psychometric assessment of the quality of life index. Research in Nursing and Health 15 (1), 29-38.

Franklin, E.A. (2011). Greenhouse facility management expects identification of competencies and teaching methods to support secondary agricultural education instructors: a modified delphi study. Journal of Agricultural Education 52 (4), 150-161.

Morse, R.S. (2004). Community Learning: Process, Structure and Renewal. Doctor of Philosophy Dissertation Virginia Polytechnic Institute and State University.

UNDP. (1994). Human Development Report. New York: Oxford University Press.